พระประวัติ
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
ประสูตเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2286 มีพระนามเดิมว่า “บุญมี” ขณะนั้นพระบิดายังคงเป็นพระพินิจอักษร (ทองดี)
พระชนนีมีพระนามว่า “ดาวเรือง” หรือ “หยก” พระบรมเชษฐาธิราช คือ หลวงยกกระบัตร
(ทองด้วง) ซึ่งต่อมาเสด็จขึ้นครองราชเป็นพระบาทสมเด็จพรุพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
เมื่อบุญมาอายุ
16 ปี บิดาได้นำไปถวายตัวเป็นมหาดเล็กในสมเด็จพระเอกทัศ
ได้เลื่อนเป็น “นายสุจินดา” ใน พ.ศ. 2306 ต่อมาใน พ.ศ. 2310 เมื่อกรุงศรีอยุทธยาถูกพม่าโจมตีใกล้จะเสียทีแก่พม่าแล้ว
นายสุจินดากับเพื่อนอิก 3 คนได้พากันออกจากกำแพงพระนคร ลงเรือตอนพลบค่ำพายไปตามแม่น้ำเจ้าพระยา
จุดหมายปลายทางคือ ต้องการไปหาหลวงยกกระบัตร ที่เมืองราชบุรี
ตำแหน่งการรับราชการของสมเด็พระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
เริ่มจาก นายสุจินดา พระมหามนตรี พระยาอนุชิตราชา พระยายมราขช
เจ้าพระยาสุรสีห์พิษณวาธิราช
และทรงได้รับการสถาปณาเป็นสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทในรัชกาลที่ 1
สมเด็พระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท สวรรคตเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2346 พระชนมายุ 60
พรรษา สาเหตุจากทรงพระประชวรเป็นโรคนิ่ว มีอาการรุนแรงมาก
ในคร้งที่ไปรบกับพม่า
พระวีรกรรม
ในรัชสัมยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สมเด็พระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาททรงทำการรบถึง
16 ครั้ง ส่วนมากเป็นการรบกับพม่า การรบครั้งสำคัญได้แก่
การตีค่ายพม่าที่โพธิ์สามต้น พ.ศ. 2310 ร่วมกับพระยาตากสิน
ขับไล่พม่าออกจากภาคกลางของไทยได้ทั้งหมด
และครั้งสุดท้ายเสด็จไปปราบจราจลในกรุงกัมพูชาใน พ.ศ. 2323
ร่วมกับสมเด็จพระยาพระมหากบัตริย์ศึกและเจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์ ลุกเธอองค์ใหญ่
ต่อมาสมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึกได้รับการสถาปนาเป็นพระมหากษัตริย์
ทรงพระนานว่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้ตั้งกรุงเทพมหานครเป็นราชธานี
เมื่อ พ.ศ. 2325
ได้สถาปนาเจ้าพระยาสุรสิงห์พิษณวาธราช ขึ้นเป็นสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
ต้องทรงรับหน้าที่ขุนพลเอกให้แก่พระบรมเชษฐาธิราชแต่ลำพังพระองค์เดียว
นับเป็นพระราชภาระที่หนักมาก ทรงเป็นแม่ทับไปรบรบร่วม 8 ครั้ง ส่วนใหญ่เป็นการรบกับพม่า
การรบครั้งสำคัญที่สุดที่กล่าวขานมาจนถึงปัจจุบัน
แสดงให้เห็นถึงพระปีชาสามารถในการทหารและยุทวิธี คือ สงครามเก้าทัพ พ.ศ. 2328 พระเจ้าปดุงแห่งพม่าขึ้นครองราชได้ 3 ปีได้ยกกองทัพบก เรือ ถึง 9 กองทัพเข้าสู่ประเทศไทยถึง
5 ทาง ทางที่สำคัญคือเข้าทางด่านเจดีย์ 3 องค์ ถึง 5 กองทัพ มีกำลังคนถึง 89000 คน
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
ทรงรับหน้าที่เป็นแม่ทัพเสด็จออกยับยั้งกองทัพพม่าไม่ให้ลาวงล้ำเข้ามา
สามรถเผด็จศึกได้ในระยะเวลาอันสั้น ด้วยกำลังทหารเพียง 30000
คนเท่านั้น
เป็นที่น่าภาคภูมิใจของคนไทยและยุทวิธีในการรบครั้งนี้ได้จัดไว้นเป็นบทเรียนสำคัญในสถาบันการศึกษาชั้นสูงของกองทัพไทยในปัจจุบัน
เป็นระยะเวลา
35 ปีที่สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาททรงรับราชการได้ทำสงครามถึง
24 ครั้ง
ผลการทำสงครามทำให้ประเทศไทยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชมีอาณาเขตกว้างไกลกว่าสมัยใดๆ
ที่มา:สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์.คนเด่นในอดีต.สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น,2543
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท มีพระนามเดิมว่า “บุญมา”
ตอบลบใช่ค่ะๆ
ลบ555
ลบffffffffffffffffffffffffffffffffffffffewqqqqqqqqqqqqqqqqrrrrrrrrrrrrrr32454 v5f55ff5f55555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555
ลบชื่อนามสกุลเพื่อน..
ลบชื่อนามสกุลเพื่อน..
ลบ1234567890@@@@@@©
ลบขอบคุณค่ะ
ตอบลบเขียนผิดเยอะมากเลยนะคะ
ตอบลบอะ ไร คับ เนี่ย
ตอบลบ